ชีวิตที่เลือกไม่ได้…

ชีวิตที่เลือกไม่ได้…

ชีวิตที่เลือกไม่ได้…… บทความเสียงชาวบ้าน โดย เกอะญอซู เขียนไว้เมื่อปี 2553 ชีวิตเลือกเกิดไม่ได้ และกำหนดได้ยาก บางครั้งสิ่งที่เราอยากให้เป็นกลับไม่เป็นตามที่เราอยาก ร้ายไปกว่านั้น …

Read more ชีวิตที่เลือกไม่ได้…

อย่าปล่อยให้เป็นตามยถากรรม

อย่าปล่อยให้เป็นตามยถากรรม

อย่าปล่อยให้เป็นตามยถากรรม 6 เมษายน จำนวนผู้ลี้ภัยริมแม่น้ำเมยตลอดแนว อ.แม่ระมาดและแม่สอด จ.ตาก ทวีขึ้นเป็นกว่า 8,000 คนภายในเวลากว่า 20 …

Read more อย่าปล่อยให้เป็นตามยถากรรม

ผู้ลี้ภัยกับการเข้าเมืองโดย “ไม่มีเอกสารเดินทางอันถูกต้อง” 

ผู้ลี้ภัยกับการเข้าเมืองโดย “ไม่มีเอกสารเดินทางอันถูกต้อง” 

ผู้ลี้ภัยกับการเข้าเมืองโดย “ไม่มีเอกสารเดินทางอันถูกต้อง”  เป็นที่น่ายินดี ที่สังคมไทยให้ความสนใจกับกรณีมิสแกรนด์เมียนมาถูกจับ หรือกักตัวอยู่ที่ตม.สุวรรณภูมิ หลายคนออกมาแสดงความไม่เห็นด้วย ที่ผู้หญิงคนหนึ่งที่ไม่ได้ทำอะไรผิดเลยจะต้องตกอยู่ในความเสี่ยงที่จะถูกส่งตัวไปสู่อันตรายในมือกองทัพพม่า รายงานข่าวกล่าวว่าว่า เนื่องด้วย ฮัน …

Read more ผู้ลี้ภัยกับการเข้าเมืองโดย “ไม่มีเอกสารเดินทางอันถูกต้อง” 

สิทธิในการกำหนดมนุษยธรรม

สิทธิในการกำหนดมนุษยธรรม

สิทธิในการกำหนดมนุษยธรรม หลังรัฐประหาร 1 ก.พ. 2564 คาดประมาณได้ว่า มีผู้ลี้ภัยฉิ่น (Chin) รวมทั้งชาวพม่าที่เข้าร่วมขบวนอารยะขัดขืน (CDM) …

Read more สิทธิในการกำหนดมนุษยธรรม

A Tale of Two Cities (1)

A Tale of Two Cities (1)

A Tale of Two Cities (1) ทางตอนเหนือและใต้เมียวดี ตรงข้ามอ.แม่สอด จ.ตาก คือเมืองใหม่ที่เพิ่งเกิดขึ้นไม่กี่ปีก่อนในยามใครต่อใครยังมีความหวังว่า …

Read more A Tale of Two Cities (1)

“ควรพิจารณาหลักเกณฑ์อนุญาตให้ผู้ลี้ภัยทำงานเลี้ยงตัวได้” เรื่องเล่าจากบทสนทนาเพื่อนข้างบ้าน (6)

“ควรพิจารณาหลักเกณฑ์อนุญาตให้ผู้ลี้ภัยทำงานเลี้ยงตัวได้” เรื่องเล่าจากบทสนทนาเพื่อนข้างบ้าน (6)

“ควรพิจารณาหลักเกณฑ์อนุญาตให้ผู้ลี้ภัยทำงานเลี้ยงตัวได้” เรื่องเล่าจากบทสนทนาเพื่อนข้างบ้าน (6) วันผู้ลี้ภัยโลก 2565 “รัฐประหารของนายพลมินอ่องหล่ายเมื่อ 1 ก.พ. 64 ทำให้การอพยพย้ายถิ่นมีความซับซ้อนมากขึ้น  …

Read more “ควรพิจารณาหลักเกณฑ์อนุญาตให้ผู้ลี้ภัยทำงานเลี้ยงตัวได้” เรื่องเล่าจากบทสนทนาเพื่อนข้างบ้าน (6)

หรือว่าเราถูกลืม

หรือว่าเราถูกลืม

หรือว่าเราถูกลืม MNT ตัดสินใจย้อนกลับไปจับอาวุธสู้ หลังจากที่การลี้ภัยในไทยไม่สามารถทำให้เขามองเห็นอนาคต MNT และครอบครัวคือส่วนหนึ่งของคลื่นมนุษย์ที่หลั่งไหลออกจากตอนกลางประเทศพม่าซึ่งมีการปราบปรามผู้ต่อต้านเผด็จการทหารอย่างเข้มข้น การเข้าร่วมประท้วงรัฐประหาร 1 ก.พ. 2564 …

Read more หรือว่าเราถูกลืม

มีอะไรมากกว่าคำว่า “ลักลอบเข้าเมืองผิดกฎหมาย”

มีอะไรมากกว่าคำว่า “ลักลอบเข้าเมืองผิดกฎหมาย”

มีอะไรมากกว่าคำว่า “ลักลอบเข้าเมืองผิดกฎหมาย” รายงานข่าวการจับกุมผู้คนที่หลั่งไหลออกจากประเทศพม่าเข้าสู่ประเทศไทยมีมาไม่ขาดสาย ตัวเลขจากกองทัพภาคที่ 3 ระบุว่า ภายในเมษายนเดือนเดียว มีการจับกุมทั้งหมด 168 ครั้งจำนวน …

Read more มีอะไรมากกว่าคำว่า “ลักลอบเข้าเมืองผิดกฎหมาย”

รังแกผู้ลี้ภัย คือการรังแกประเทศไทย

รังแกผู้ลี้ภัย คือการรังแกประเทศไทย

รังแกผู้ลี้ภัย คือการรังแกประเทศไทย “ครูอันวา” ปกติแล้วเรามักเรียกคนที่เป็นครูติดปากว่า “ครู” แม้ว่าเขาจะยังเป็นครูอยู่หรือไม่ก็ตาม   ครูอันวาคนนี้คือผู้ลี้ภัย  เขาติดตามครอบครัวจากประเทศคูเวตมายังประเทศไทยเมื่อ 17 …

Read more รังแกผู้ลี้ภัย คือการรังแกประเทศไทย

ถึงเวลาเปลี่ยนบทสนทนา

ถึงเวลาเปลี่ยนบทสนทนา

ถึงเวลาเปลี่ยนบทสนทนา ประเทศไทยไม่ยอมเป็นภาคีอนุสัญญาว่าด้วยสถานภาพผู้ลี้ภัย 1951 และพิธีสารต่อท้าย 1967 แม้จะนั่งอยู่ในคณะกรรมการบริหาร (ExCom) แผนงานของสำนักข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ (UNHCR) มาตั้งแต่ปี …

Read more ถึงเวลาเปลี่ยนบทสนทนา

ไทยมีกฎหมายที่สามารถคุ้มครองผู้ลี้ภัย และการส่งกลับผู้ลี้ภัยไม่ได้เป็นประโยชน์กับประชาชนไทย

ไทยมีกฎหมายที่สามารถคุ้มครองผู้ลี้ภัย และการส่งกลับผู้ลี้ภัยไม่ได้เป็นประโยชน์กับประชาชนไทย

ไทยมีกฎหมายที่สามารถคุ้มครองผู้ลี้ภัย และการส่งกลับผู้ลี้ภัยไม่ได้เป็นประโยชน์กับประชาชนไทย ธันวาคม 2564 สองปีนับจากมีการประกาศ “ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการคัดกรองคนต่างด้าวที่เข้ามาในราชอาณาจักรและไม่สามารถเดินทางกลับประเทศอันเป็นภูมิลำเนาได้” ในราชกิจจานุเบกษา ไทยก็ยังไม่เคยนำระเบียบฯดังกล่าวมาใช้ในทางปฏิบัติเลยสักครั้ง หลังจากบังคับส่งผู้ลี้ภัยทางการเมืองหญิงชายกัมพูชา 4 …

Read more ไทยมีกฎหมายที่สามารถคุ้มครองผู้ลี้ภัย และการส่งกลับผู้ลี้ภัยไม่ได้เป็นประโยชน์กับประชาชนไทย

ส่งกลับผู้ลี้ภัย ใครได้ประโยชน์ ?

ส่งกลับผู้ลี้ภัย ใครได้ประโยชน์ ?

ส่งกลับผู้ลี้ภัย ใครได้ประโยชน์ ? พฤศจิกายน 2564 รัฐบาลไทยตกเป็นข่าวไปทั่วโลกอีกครั้ง เมื่อถูกสำนักข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ (UNHCR) และองค์กรสิทธิมนุษยชนนานาชาติต่าง ๆ …

Read more ส่งกลับผู้ลี้ภัย ใครได้ประโยชน์ ?

รัฐไทยจะต้องไม่ละเมิดสิทธิการลี้ภัยซ้ำซาก

รัฐไทยจะต้องไม่ละเมิดสิทธิการลี้ภัยซ้ำซาก

รัฐไทยจะต้องไม่ละเมิดสิทธิการลี้ภัยซ้ำซาก เมื่อต้นปี มีนาคม – พฤษภาคม 2564 ไทยได้ดำเนินการส่งผู้ลี้ภัยสงครามกลับมื่อตรอ รัฐกะเหรี่ยงก่อนเวลาอันควร ในขณะที่ผู้คนยังหวาดผวาด้วยเครื่องบินสอดแนม การทิ้งระเบิด …

Read more รัฐไทยจะต้องไม่ละเมิดสิทธิการลี้ภัยซ้ำซาก

การทำร้ายผู้ลี้ภัยตามอำเภอใจของเจ้าหน้าที่จะต้องยุติ

การทำร้ายผู้ลี้ภัยตามอำเภอใจของเจ้าหน้าที่จะต้องยุติ

ขอเรียกร้องให้มีการรักษาความปลอดภัยให้แก่พยาน รวมถึงดำเนินกระบวนการสอบสวนและกระบวนการยุติธรรมอย่างเปิดเผยและโปร่งใส ต่อกรณีที่เจ้าหน้าที่อ.ส.ทำร้ายร่างกายผู้ลี้ภัยในค่ายแม่หละ อ.ท่าสองยาง จ.ตาก จากรายงานข่าวของสื่อภาคประชาชนชาวกะเหรี่ยง เมื่อบ่ายวันที่ 15 ก.ย. 2564  …

Read more การทำร้ายผู้ลี้ภัยตามอำเภอใจของเจ้าหน้าที่จะต้องยุติ

ฉันคือผู้ลี้ภัย

ฉันคือผู้ลี้ภัย

ฉันคือผู้ลี้ภัย หลายสิบปีที่ผ่านมา เจ้าหน้าที่รัฐไทยไม่เคยเลิกราที่จะปฏิเสธการมีอยู่ของผู้ลี้ภัยบนชายแดนไทย-พม่า โดยบอกว่า คนที่อยู่ในค่ายผู้ลี้ภัยปัจจุบันซึ่งมีอยู่ 9 แห่งนั้น คือ “ผู้หนีภัยการสู้รบ” ใน …

Read more ฉันคือผู้ลี้ภัย