บันทึกโควิด โดย ธน เดร อู
บันทึกโควิด โดย ธน เดร อู นักเรียนหญิงชั้นม. 2 (ชั้นปีที่ 8 ) โรงเรียนแลเบง …
บันทึกโควิด โดย ธน เดร อู นักเรียนหญิงชั้นม. 2 (ชั้นปีที่ 8 ) โรงเรียนแลเบง …
รัฐไทยจะต้องไม่ละเมิดสิทธิการลี้ภัยซ้ำซาก เมื่อต้นปี มีนาคม – พฤษภาคม 2564 ไทยได้ดำเนินการส่งผู้ลี้ภัยสงครามกลับมื่อตรอ รัฐกะเหรี่ยงก่อนเวลาอันควร ในขณะที่ผู้คนยังหวาดผวาด้วยเครื่องบินสอดแนม การทิ้งระเบิด …
ขอเรียกร้องให้มีการรักษาความปลอดภัยให้แก่พยาน รวมถึงดำเนินกระบวนการสอบสวนและกระบวนการยุติธรรมอย่างเปิดเผยและโปร่งใส ต่อกรณีที่เจ้าหน้าที่อ.ส.ทำร้ายร่างกายผู้ลี้ภัยในค่ายแม่หละ อ.ท่าสองยาง จ.ตาก จากรายงานข่าวของสื่อภาคประชาชนชาวกะเหรี่ยง เมื่อบ่ายวันที่ 15 ก.ย. 2564 …
Read more การทำร้ายผู้ลี้ภัยตามอำเภอใจของเจ้าหน้าที่จะต้องยุติ
แม้นว่าเสียงกู่ตะโกนจะต่างภาษา ….. ภาพของเด็กหนุ่มชาวกะยอวัย 17 และ 18 ปี ปาสคูลาร์และฟีดาเย ที่ถูกทุบตีทำร้ายจนเลือดอาบ เหยียดแขนชูสามนิ้ว …
บันทึกโควิด โดย จูลี ทู นักเรียนหญิงชั้นม. 5 (ชั้นปีที่ 11) โรงเรียนซาตู่ก้อ แม่สอด จ.ตาก …
เสียงจากเยาวชนกะเรนนี (4) คุณคงรู้แล้วว่า สถานการณ์ความรุนแรงทำให้ชาวกะเรนนีส่วนใหญ่ต้องใช้ชีวิตหลบ ๆ ซ่อน ๆ อยู่ในป่ามากกว่าจะอยู่ในบ้านตัวเอง ครอบครัวผมก็เหมือนกัน พ่อแม่ผมเป็นชาวไร่ชาวสวนเหมือนคนกะเรนนีทั่ว …
เสียงจากเยาวชนกะเรนนี (3) “พอเริ่มมีการสู้รบขึ้นที่หมู่บ้าน ชาวบ้านทุกคนก็อพยพไปหลบอยู่ในป่า ไม่มีใครอยากอยู่อย่างนั้น จริง ๆ แล้วครอบครัวของหนูก็อยากมาที่ชายแดนด้วยกันทุกคน แต่หมู่บ้านของเรามีกฎอยู่ว่า ถ้าบ้านไหนอพยพออกไปชายแดนหมดแล้วทั้งบ้าน …
เพียงสายน้ำกั้น ปลายเดือนสิงหาคม ชุมชนกะเหรี่ยงเขตริมเมย จ.พะอัน สูญเสียสมาชิกผู้อาวุโสซึ่งเป็นผู้ติดเชื้อโควิด 19 คนแรกที่พบในเขต โดยมีประวัติไปรับเชื้อจากพื้นที่สีแดงฝั่งไทยในช่วงพิธีกรรมลาขุกี้จือ (พิธีผูกข้อมือประจำปี) ความสูญเสียก่อให้เกิดความหวาดวิตก …
ผู้ลี้ภัยไม่ใช่ผู้หนีภัยการสู้รบ สิงหาคม 2564 ชาวบ้านมื่อตรอจำเป็นต้องหลบซ่อนเป็นผู้พลัดถิ่นอยู่ในบ้านตนเอง หากโชคร้ายก็จะถูกพบเจอโดยกองทัพพม่า หรือเหยียบกับระเบิดซึ่งฐานทัพพม่านำมาฝังไว้เป็นจำนวนมาก ล่าสุด 25 ส.ค. ชาวบ้านหมู่บ้านก้อปู …
เตรียมหลบภัย ตลอด 3-4 เดือนที่ผ่านมา นับจากผู้ลี้ภัยชาวกะเหรี่ยงที่เข้ามาพักในสบเมยและแม่สะเรียงได้ข้ามน้ำสาละวินกลับไป ไม่มีวันใดเลยที่จะเรียกได้ว่า มีความสงบในจังหวัดมื่อตรอ ทว่า การปะทะ …
เสียงจากเยาวชนกะเรนนี (2) “คนรุ่นพ่อแม่หนูเขาจะหลบอยู่ใกล้ ๆหมู่บ้าน พวกเขาต้องดูแลคนแก่ด้วย เพราะคนแก่จะเดินทางไกลไม่ไหว ส่วนคนหนุ่มสาวจะอยู่ที่นั่นไม่ได้ พวกเราต้องหนีกันมาทั้งหมด โดยเฉพาะผู้หญิง ถ้าอยู่ก็เสี่ยงมากกับการถูกทหารพม่าจับและข่มขืน …
เสียงจากเยาวชนกะเรนนี (1) “ที่บ้านของหนู ทหารพม่ายังมาไม่ถึง แต่หนูหนีออกมา เพราะหนูอยากมาฝึกทหาร หนูอยากเป็นทหารกะเรนนี เพื่อที่ว่า เมื่อกองทัพพม่าบุกมาที่บ้านหนู หนูจะได้ปกป้องพ่อแม่ของหนู …
เราอยู่ในสังคมเดียวกันหรือมิใช่ ? รายงานข่าวที่สภาอุตสาหกรรมและหอการค้าแม่สอดจัดให้แรงงานข้ามชาติ อ. แม่สอด จ.ตาก จำนวนหนึ่งได้ฉีดวัคซีนซิโนฟาร์ม ก่อให้เกิดเสียงวิพากษ์วิจารณ์จากคนไทยส่วนหนึ่งที่มองว่า แรงงานข้ามชาติไม่ควรมีโอกาสที่ดีกว่าคนไทย ซึ่งส่วนใหญ่ก็ยังไม่สามารถเข้าถึงวัคซีนเลย …
กลางวงล้อมสงคราม ไวรัส และความช่วยเหลือทางมนุษยธรรม 2564 เป็นปีที่โหดร้ายที่สุดปีหนึ่งของประชาชนพม่า เช่นเดียวกับอีกหลายประเทศทั่วโลกที่ต้องเผชิญกับวิกฤตการเมืองไปพร้อม ๆ กับโรคระบาดใหญ่ การเมืองที่ปฏิเสธระบบตรวจสอบและถ่วงดุลย์อำนาจรวมถึงจำกัดเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น ทำให้การระบาดโหมแรง …
Read more กลางวงล้อมสงคราม ไวรัส และความช่วยเหลือทางมนุษยธรรม
บันทึกครูกะเรนนี “คนกะเรนนีต้องเป็นผู้พลัดถิ่นในรัฐกะเรนนีหรือเป็นผู้ลี้ภัยในไทยมาตั้งแต่ก่อนพวกเราเกิด พ่อแม่ปู่ย่าเราต้องอยู่กันโดยไม่มีสิทธิเป็นพลเมืองของประเทศไหนมานานแล้ว” เด็ก ๆ บอกกับฉัน เมื่อฉันถามว่าคิดอย่างไรกับสถานการณ์ปัจจุบัน “เราเกิดและโตมาก็เป็นแบบนี้ แต่พอได้เห็นคนกะเรนนีต้องหนีตายหรือถูกฆ่าเป็นผักเป็นปลาเข้าจริง …