อัพเดทสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในเมียนมาร์ประจำเดือนกรกฎาคม 67

อัพเดทสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในเมียนมาร์ประจำเดือนกรกฎาคม 67

อย่างที่หลายคนทราบว่า สถานการณ์ความไม่สงบในเมียนมาร์ยังคงเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นการต่อสู้ระหว่างฝ่ายรัฐบาลและกองกำลังต่างๆ ที่นำไปสู่ความเสียหายอย่างรุนแรง รวมถึงภาวะขาดแคลนปัจจัยพื้นฐานของประชาชน อีกทั้งการที่มีผู้บริสุทธิ์เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก และมีผู้ลี้ภัยออกจากประเทศอย่างต่อเนื่อง จึงแสดงให้เห็นแล้วว่า เมียนมาร์ไม่ใช่พื้นที่ปลอดภัยอีกแล้ว เพื่อนไร้พรมแดนสรุปสถานการณ์สำคัญทั้งสถานการณ์-การต่อสู้ …

Read more อัพเดทสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในเมียนมาร์ประจำเดือนกรกฎาคม 67

เต้-จักรพันธ์ ศรีวิชัย ผู้เคลื่อนไหวด้วยศาสตร์ภาพยนตร์ และ Performance Art เพื่อเรื่องเมืองและความเท่าเทียม

เต้-จักรพันธ์ ศรีวิชัย ผู้เคลื่อนไหวด้วยศาสตร์ภาพยนตร์ และ Performance Art เพื่อเรื่องเมืองและความเท่าเทียม

เต้-จักรพันธ์ ศรีวิชัย คือนักทำหนังอิสระ หนังส่วนมากวนเวียนกับภูติ ผี วิญญาณ ความเชื่อ และหนังเหล่านั้นทำงานในระดับที่เขาผลักดันตัวเองไปจนถึงเวทีเทศกาลหนังสั้นทั้งในเกาหลี และสวิสเซอร์แลนด์ จนใครหลายคนในวงการนี้เริ่มจับตามองเขาในฐานะคนทำหนังที่มีลีลาที่น่าตื่นตา …

Read more เต้-จักรพันธ์ ศรีวิชัย ผู้เคลื่อนไหวด้วยศาสตร์ภาพยนตร์ และ Performance Art เพื่อเรื่องเมืองและความเท่าเทียม

สิบปีกับเงินหมื่น

สิบปีกับเงินหมื่น

“เป็นยังไงมั่งแล้วหือ ไอ้หลานชาย ที่นั่นเป็นยังไง เอ็งจะกลับมาถึงเมื่อไหร่ รู้มั้ยวันก่อนน้าสาวกับน้าเขยของเอ็งนั่งรถหนีน้ำกลับมาหมดไปคนละห้าพัน แล้วยังโชคร้ายถูกจับส่งตัวไปที่ฝั่งพม่า ถูกหน่วยรักษาชายแดน (กองกำลังดีเคบีเอเดิม) เรียกคนละสองพันห้า เท่านั้้นยังไม่พอ …

Read more สิบปีกับเงินหมื่น

ข้อแนะนำสำหรับชาวเมียนมาร์พลัดถิ่นในแม่สอด: การพำนักอาศัยในไทย 101

ข้อแนะนำสำหรับชาวเมียนมาร์พลัดถิ่นในแม่สอด: การพำนักอาศัยในไทย 101

ข้อแนะนำเพื่อป้องกันไม่ให้ TNR เกิดขึ้นในประเทศไทยและเพื่อปกป้องผู้พลัดถิ่นชาวเมียนมาร์จากการตกเป็นเหยื่อของ TNR ถูกเก็บรวบรวมจากแต่ละบุคคลและจากการประชุมระดมความคิดของผู้เข้าร่วมการวิจัยและทีม Border Voices ต้องเน้นว่าข้อแนะนำดังต่อไปนี้มีขอบเขตเฉพาะเกี่ยวกับปัญหา TNR เท่านั้น …

Read more ข้อแนะนำสำหรับชาวเมียนมาร์พลัดถิ่นในแม่สอด: การพำนักอาศัยในไทย 101

ข้อแนะนำสำหรับชาวเมียนมาร์พลัดถิ่นในแม่สอด: มาตรการด้านความปลอดภัย

ข้อแนะนำสำหรับชาวเมียนมาร์พลัดถิ่นในแม่สอด: มาตรการด้านความปลอดภัย

ข้อแนะนำเพื่อป้องกันไม่ให้ TNR เกิดขึ้นในประเทศไทยและเพื่อปกป้องผู้พลัดถิ่นชาวเมียนมาร์จากการตกเป็นเหยื่อของ TNR ถูกเก็บรวบรวมจากแต่ละบุคคลและจากการประชุมระดมความคิดของผู้เข้าร่วมการวิจัยและทีม Border Voices ต้องเน้นว่าข้อแนะนำดังต่อไปนี้มีขอบเขตเฉพาะเกี่ยวกับปัญหา TNR เท่านั้น …

Read more ข้อแนะนำสำหรับชาวเมียนมาร์พลัดถิ่นในแม่สอด: มาตรการด้านความปลอดภัย

The Nightmare and a Dream กับการเตรียมรับมือเหตุการณ์โจมตีในพื้นที่รัฐกะเหรี่ยง

The Nightmare and a Dream กับการเตรียมรับมือเหตุการณ์โจมตีในพื้นที่รัฐกะเหรี่ยง

“ในหมู่บ้านของเรามีฐานของทหารพม่าอยู่ไม่ไกลจากหมู่บ้าน รอบๆ ฐานมีการฝังระเบิดไว้รอบๆ ชาวบ้านออกไปใช้ชีวิต หาของป่าตามปกติ แต่โชคไม่ดีมีชาวบ้านคนหนึ่ง เดินไปเหยียบกับระเบิดที่ทหารพม่าวางไว้จนเสียชีวิต จากวันนั้นถึงตอนนี้ไม่มีใครกล้าไปแถวนั้นเพราะกลัวเหยีบกับระเบิด ไม่รู้มีเยอะเท่าไหร่” ผู้ใหญ่บ้านหมู่บ้านหนึ่งในเขตตร้าแก้ …

Read more The Nightmare and a Dream กับการเตรียมรับมือเหตุการณ์โจมตีในพื้นที่รัฐกะเหรี่ยง

We Don’t Feel Safe – ready for download

We Don’t Feel Safe – ready for download

เนื่องในเดือนวันผู้ลี้ภัยโลก ทีมวิจัย Border Voices Team, เพื่อนไร้พรมแดนขอนำเสนองานวิจัยแบบมีส่วนร่วมเกี่ยวกับการปราบปรามข้ามชาติต่อชาวเมียนมาพลัดถิ่น ในแม่สอด ประเทศไทย ตลอดเดือนมิถุนายนนี้ We …

Read more We Don’t Feel Safe – ready for download

We Don’t Feel SAFE #04

We Don’t Feel SAFE #04

การความร่วมมือข้ามพรมแดนสำหรับ TNR ได้รับการอธิบายว่าเป็นการร่วมมือระหว่างหน่วยงานด้านความมั่นคงของไทยและกลุ่มอำนาจในเมียนมา ควรสังเกตว่า ผู้ลี้ภัยและผู้คัดค้านจากเมียนมาร์ส่วนใหญ่ไม่สามารถแยกแยะเจ้าหน้าที่หน่วยความมั่นคงของไทยต่างๆ ได้จากเครื่องแบบและปลอกแขน เช่น ตำรวจ ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง ตำรวจตระเวนชายแดน …

Read more We Don’t Feel SAFE #04

We Don’t Feel SAFE #03

We Don’t Feel SAFE #03

ผู้เข้าร่วมการวิจัยทุกคนเชื่อว่ามีความร่วมมือระหว่างเจ้าหน้าที่ของทั้งสองประเทศในการเฝ้าระวัง จับกุม กักขัง และเนรเทศโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย โดยอ้างอิงจากข้อเท็จจริงที่ทุกคนยอมรับถึงความสัมพันธ์ใกล้ชิดระหว่างรัฐบาลและกองทัพของไทยและเมียนมา และประสบการณ์ที่น่าสงสัยของชุมชนพลัดถิ่น ความร่วมมือข้ามพรมแดนเพื่อ TNR ได้รับการอธิบายว่าเป็นความร่วมมือระหว่างหน่วยงานความมั่นคงฝ่ายไทยหนึ่งหรือหลายหน่วยงานกับกลุ่มอำนาจหนึ่งหรือหลายกลุ่มในฝ่ายเมียนมา ควรสังเกตว่าผู้ลี้ภัยและผู้ต่อต้านรัฐบาลจากเมียนมาส่วนใหญ่ไม่สามารถแยกแยะเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานความมั่นคงไทยต่างๆ …

Read more We Don’t Feel SAFE #03

We Don’t Feel SAFE #02

We Don’t Feel SAFE #02

การปฏิบัติการด้านข้อมูลไซเบอร์มีจุดประสงค์ทั้งเป็นภัยคุกคามทางจิตวิทยาและเป็นส่วนหนึ่งของยุทธวิธีอื่นๆ ซึ่งรวมถึงการบีบบังคับโดยผู้แทน (การพยายาม) โจมตีและการร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ไทยในการเฝ้าระวัง จับกุม คุมขัง และการเนรเทศโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย การปฏิบัติการด้านข้อมูลไซเบอร์ซึ่งข้ามพรมแดนระหว่างประเทศ ต้องการการลงทุนทางการเงินและมนุษย์เพียงเล็กน้อย ดังนั้นจึงถูกนำมาใช้โดยทหารในพม่า …

Read more We Don’t Feel SAFE #02

We Don’t Feel SAFE #01

We Don’t Feel SAFE #01

เมื่อเวลา 22:15 น. ของคืนวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2540 กลุ่มชายติดอาวุธมากกว่าร้อยคนสวมเครื่องแบบสีดำหรือชุดพรางข้ามพรมแดนจากพม่า/เมียนมาร์มายังอำเภอแม่สอดในประเทศไทย จุดหมายของพวกเขาคือค่ายผู้ลี้ภัยห้วยกะลอก …

Read more We Don’t Feel SAFE #01

Myanmar Film Tour 2024 (เชียงใหม่)

Myanmar Film Tour 2024 (เชียงใหม่)

Myanmar Film Tour 2024 (เชียงใหม่)คิดถึงบ้าน เกิดอะไรขึ้นในบ้านเกิดเมืองนอนของพวกเขา เป็นอยู่ยังไงในบ้านชั่วคราวหลังใหม่ แล้วบ้านแบบไหนที่พวกเขาอยากอยู่ในอนาคต? SEM เพื่อนเครือข่าย …

Read more Myanmar Film Tour 2024 (เชียงใหม่)