แผ่นดินแห่งสันติ

แผ่นดินแห่งสันติ

ไม่มีใครคาดคิดว่าบ่ายวันหนึ่งในเดือนมีนาคม ปี 2551 ลมพายุจะหอบเอาฝนห่าใหญ่มาตกที่หมู่บ้านของผม ยิ่งค่ำลมยิ่งพัดแรง ฝนยิ่งตกหนักและไม่มีท่าทีจะหยุดลงง่าย ๆ ต้นมะพร้าวที่ยืนต้นแข็งแกร่ง ถูกลมพายุพัดล้มระเนระนาด บ้านเรือนพังราบเหมือนถูกไฟเผา …

Read more แผ่นดินแห่งสันติ

อัพเดทสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในเมียนมาร์ประจำเดือนกันยายน 67 (2): อย่าลืมเพื่อนเรา

อัพเดทสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในเมียนมาร์ประจำเดือนกันยายน 67 (2): อย่าลืมเพื่อนเรา

ผู้พลัดถิ่นกว่า 800 ชีวิตในเมืองแหม่เซต้องการความช่วยเหลือเร่งด่วน หลังการปะทะทำให้ไม่สามารถกลับบ้านได้ ผู้พลัดถิ่นจากเมืองผาซองในรัฐกะเรนนีตอนเหนือ ซึ่งหนีไปยังเมืองเมสะเนื่องจากการสู้รบในเมืองผาซอง กำลังต้องการความช่วยเหลือด้านอาหารอย่างเร่งด่วน เนื่องจากความขัดแย้งยังคงดำเนินต่อไป ตามรายงานจากผู้พลัดถิ่น ตั้งแต่เกิดการปะทะขึ้นในเมืองผาซองเมื่อเดือนมีนาคม …

Read more อัพเดทสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในเมียนมาร์ประจำเดือนกันยายน 67 (2): อย่าลืมเพื่อนเรา

บ้าน

บ้าน

“ฉันยกที่ดินตรงนี้ให้ ไม่เอาเงินหรอก ปลูกบ้านที่นี่แหละ” ป้ามึจิ ยกคำพูดของเจ้าของที่ดิน เพื่อเล่าความหลังเกี่ยวกับที่ดินที่แกปลูกบ้านอยู่ให้ผมฟังด้วยความน้อยใจ เพราะเมื่อช่วงต้นปีที่ผ่านมาเจ้าของที่ขายที่ดินกับนายทุนในเมือง โดยที่ไม่บอกให้แกรู้เลยสักคำ ทั้งที่ก่อนหน้านี้เขาเคยบอกยกที่ดินแคบ ๆ ท้ายแปลงให้แกปลูกบ้าน …

Read more บ้าน

นิทานก่อนนอน

นิทานก่อนนอน

“ถ้าหนูดื้อ หนูจะกลายเป็นนกกระปูดที่ร้อง โมเฮอ โมเฮอ… นะ รู้ไหม” หญิงผู้เป็นแม่ปรามลูกสาวตัวน้อยที่กำลังเล่นซนลากเก้าอี้ไปมา ผมหันมองแม่ลูกคู่หนึ่งที่เดินทางมาร่วมงานนมัสการพระเจ้า ณ บ้านไม้เก่าแก่ริมฝั่งแม่น้ำสาละวินหลังนี้เช่นเดียวกับผม …

Read more นิทานก่อนนอน

ซันโว: ทศวรรษของการนำศาสตร์การละครสื่อสารเพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลง

ซันโว: ทศวรรษของการนำศาสตร์การละครสื่อสารเพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลง

นี่คือดาวอีกดวงที่กำลังฉายแสงในวงวารการเคลื่อนไหว และวงนักการละครเชียงใหม่ ซันโว-ธันย์รัตนราม ชีพนุรัตน์ คือนักการละครอิสระ ผู้จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยขอนแก่นในฐานะนักศึกษาการละครรุ่นแรก จนมาถึงการเดินกว่า 10 ปีในโลกการละคร การเป็นคนละครคนหนึ่งที่ยังคงทำงานอย่างแข็งขัน …

Read more ซันโว: ทศวรรษของการนำศาสตร์การละครสื่อสารเพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลง

อัพเดทสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในเมียนมาร์ประจำเดือนกันยายน 67: อย่าลืมเพื่อนเรา

อัพเดทสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในเมียนมาร์ประจำเดือนกันยายน 67: อย่าลืมเพื่อนเรา

วลพ. แสดงความเป็นห่วง หลังกรณีศธ.สุราษฏร์ธานี สั่งปิดศูนย์มิตตาเย๊ะ เยาวชนเมียนมาร์หลุดจากระบบฯ นับพัน จากกรณีที่สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุราษฏร์ธานี สั่งปิดศูนย์การเรียนมิตตาเย๊ะบางกุ้งเมื่อวันที่ 4 กันยายนที่ผ่านมา …

Read more อัพเดทสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในเมียนมาร์ประจำเดือนกันยายน 67: อย่าลืมเพื่อนเรา

อัพเดทสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในเมียนมาร์ประจำเดือนสิงหาคม-กันยายน 2567: อย่าลืมเพื่อนเรา

อัพเดทสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในเมียนมาร์ประจำเดือนสิงหาคม-กันยายน 2567: อย่าลืมเพื่อนเรา

อย่างที่หลายคนทราบว่า สถานการณ์ความไม่สงบในเมียนมาร์ยังคงเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นการต่อสู้ระหว่างฝ่ายรัฐบาลและกองกำลังต่างๆ ที่นำไปสู่ความเสียหายอย่างรุนแรง การลิดรอนสิทธิของนักโทษทางการเมืองในเรือนจำ รวมถึงการใช้สิทธิ์ ใช้เสียงของตัวเองเพื่อประชาธิปไตยในเมียนมาร์ เพื่อนไร้พรมแดนสรุปสถานการณ์สำคัญทั้งสถานการณ์-การต่อสู้ รวมถึงการลิดรอนสิทธิที่รัฐบาลเมียนมาร์ทำกับประชาชนไว้ในโพสต์นี้ เพื่อให้คุณได้เข้าใจฉากทัศน์ของเหตุการณ์ทั้งหมดได้มากขึ้น …

Read more อัพเดทสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในเมียนมาร์ประจำเดือนสิงหาคม-กันยายน 2567: อย่าลืมเพื่อนเรา

ข้อแนะนำสำหรับหน่วยงานภาคประชาสังคม และองค์กรนานาชาติ เพื่อชาวเมียนมาร์พลัดถิ่นในแม่สอด

ข้อแนะนำสำหรับหน่วยงานภาคประชาสังคม และองค์กรนานาชาติ เพื่อชาวเมียนมาร์พลัดถิ่นในแม่สอด

ข้อแนะนำเพื่อป้องกันไม่ให้ TNR เกิดขึ้นในประเทศไทยและเพื่อปกป้องผู้พลัดถิ่นชาวเมียนมาร์จากการตกเป็นเหยื่อของ TNR ถูกเก็บรวบรวมจากแต่ละบุคคลและจากการประชุมระดมความคิดของผู้เข้าร่วมการวิจัยและทีม Border Voices ต้องเน้นว่าข้อแนะนำดังต่อไปนี้มีขอบเขตเฉพาะเกี่ยวกับปัญหา TNR เท่านั้น …

Read more ข้อแนะนำสำหรับหน่วยงานภาคประชาสังคม และองค์กรนานาชาติ เพื่อชาวเมียนมาร์พลัดถิ่นในแม่สอด

อัพเดทสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในเมียนมาร์ประจำเดือนกรกฎาคม 67

อัพเดทสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในเมียนมาร์ประจำเดือนกรกฎาคม 67

อย่างที่หลายคนทราบว่า สถานการณ์ความไม่สงบในเมียนมาร์ยังคงเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นการต่อสู้ระหว่างฝ่ายรัฐบาลและกองกำลังต่างๆ ที่นำไปสู่ความเสียหายอย่างรุนแรง รวมถึงภาวะขาดแคลนปัจจัยพื้นฐานของประชาชน อีกทั้งการที่มีผู้บริสุทธิ์เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก และมีผู้ลี้ภัยออกจากประเทศอย่างต่อเนื่อง จึงแสดงให้เห็นแล้วว่า เมียนมาร์ไม่ใช่พื้นที่ปลอดภัยอีกแล้ว เพื่อนไร้พรมแดนสรุปสถานการณ์สำคัญทั้งสถานการณ์-การต่อสู้ …

Read more อัพเดทสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในเมียนมาร์ประจำเดือนกรกฎาคม 67

ข้อแนะนำสำหรับชาวเมียนมาร์พลัดถิ่นในแม่สอด: การพำนักอาศัยในไทย 101

ข้อแนะนำสำหรับชาวเมียนมาร์พลัดถิ่นในแม่สอด: การพำนักอาศัยในไทย 101

ข้อแนะนำเพื่อป้องกันไม่ให้ TNR เกิดขึ้นในประเทศไทยและเพื่อปกป้องผู้พลัดถิ่นชาวเมียนมาร์จากการตกเป็นเหยื่อของ TNR ถูกเก็บรวบรวมจากแต่ละบุคคลและจากการประชุมระดมความคิดของผู้เข้าร่วมการวิจัยและทีม Border Voices ต้องเน้นว่าข้อแนะนำดังต่อไปนี้มีขอบเขตเฉพาะเกี่ยวกับปัญหา TNR เท่านั้น …

Read more ข้อแนะนำสำหรับชาวเมียนมาร์พลัดถิ่นในแม่สอด: การพำนักอาศัยในไทย 101

ข้อแนะนำสำหรับชาวเมียนมาร์พลัดถิ่นในแม่สอด: มาตรการด้านความปลอดภัย

ข้อแนะนำสำหรับชาวเมียนมาร์พลัดถิ่นในแม่สอด: มาตรการด้านความปลอดภัย

ข้อแนะนำเพื่อป้องกันไม่ให้ TNR เกิดขึ้นในประเทศไทยและเพื่อปกป้องผู้พลัดถิ่นชาวเมียนมาร์จากการตกเป็นเหยื่อของ TNR ถูกเก็บรวบรวมจากแต่ละบุคคลและจากการประชุมระดมความคิดของผู้เข้าร่วมการวิจัยและทีม Border Voices ต้องเน้นว่าข้อแนะนำดังต่อไปนี้มีขอบเขตเฉพาะเกี่ยวกับปัญหา TNR เท่านั้น …

Read more ข้อแนะนำสำหรับชาวเมียนมาร์พลัดถิ่นในแม่สอด: มาตรการด้านความปลอดภัย

We Don’t Feel Safe – ready for download

We Don’t Feel Safe – ready for download

เนื่องในเดือนวันผู้ลี้ภัยโลก ทีมวิจัย Border Voices Team, เพื่อนไร้พรมแดนขอนำเสนองานวิจัยแบบมีส่วนร่วมเกี่ยวกับการปราบปรามข้ามชาติต่อชาวเมียนมาพลัดถิ่น ในแม่สอด ประเทศไทย ตลอดเดือนมิถุนายนนี้ We …

Read more We Don’t Feel Safe – ready for download

We Don’t Feel SAFE #04

We Don’t Feel SAFE #04

การความร่วมมือข้ามพรมแดนสำหรับ TNR ได้รับการอธิบายว่าเป็นการร่วมมือระหว่างหน่วยงานด้านความมั่นคงของไทยและกลุ่มอำนาจในเมียนมา ควรสังเกตว่า ผู้ลี้ภัยและผู้คัดค้านจากเมียนมาร์ส่วนใหญ่ไม่สามารถแยกแยะเจ้าหน้าที่หน่วยความมั่นคงของไทยต่างๆ ได้จากเครื่องแบบและปลอกแขน เช่น ตำรวจ ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง ตำรวจตระเวนชายแดน …

Read more We Don’t Feel SAFE #04

We Don’t Feel SAFE #03

We Don’t Feel SAFE #03

ผู้เข้าร่วมการวิจัยทุกคนเชื่อว่ามีความร่วมมือระหว่างเจ้าหน้าที่ของทั้งสองประเทศในการเฝ้าระวัง จับกุม กักขัง และเนรเทศโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย โดยอ้างอิงจากข้อเท็จจริงที่ทุกคนยอมรับถึงความสัมพันธ์ใกล้ชิดระหว่างรัฐบาลและกองทัพของไทยและเมียนมา และประสบการณ์ที่น่าสงสัยของชุมชนพลัดถิ่น ความร่วมมือข้ามพรมแดนเพื่อ TNR ได้รับการอธิบายว่าเป็นความร่วมมือระหว่างหน่วยงานความมั่นคงฝ่ายไทยหนึ่งหรือหลายหน่วยงานกับกลุ่มอำนาจหนึ่งหรือหลายกลุ่มในฝ่ายเมียนมา ควรสังเกตว่าผู้ลี้ภัยและผู้ต่อต้านรัฐบาลจากเมียนมาส่วนใหญ่ไม่สามารถแยกแยะเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานความมั่นคงไทยต่างๆ …

Read more We Don’t Feel SAFE #03