
ฉันไม่ต้องการให้พวกเขาเสียโอกาสไป
ฉันไม่ต้องการให้พวกเขาเสียโอกาสไป (1)กองทัพเมียนมาร์มักเริ่มปฏิบัติการในพื้นที่ของเรา เราต้องวิ่งครั้งแล้วครั้งเล่า เราประสบปัญหามากมาย ทั้ง การเงิน ครอบครัว การศึกษา ความเป็นอยู่ที่ดี และการขาดแคลนน้ํา …
ฉันไม่ต้องการให้พวกเขาเสียโอกาสไป (1)กองทัพเมียนมาร์มักเริ่มปฏิบัติการในพื้นที่ของเรา เราต้องวิ่งครั้งแล้วครั้งเล่า เราประสบปัญหามากมาย ทั้ง การเงิน ครอบครัว การศึกษา ความเป็นอยู่ที่ดี และการขาดแคลนน้ํา …
บทกวี ลิปสติค โดย ซามิยอ วาดลิปสติคแท่งใหม่บนริมฝีปากส่งยิ้มให้กำลังใจตัวเองในกระจกที่นี่เมืองใหญ่ฉันมองไปรอบ ๆแท่งตึกปูนไม่ใช่ภูเขาเสียงน้ำเจ้าพระยารินไหลเอื่อยช้า แต่ไม่ใช่ น้ำแม่เมย ฉันมาไกลถึงเมืองใหญ่เงียบว้างท่ามกลางความพลุกพล่านคิดถึงเพื่อนคนเดิมที่ข้ามน้ำมาด้วยกันเธอระหกระเหินกลับบ้านไปป่วยไข้รักษาตัวจนเงินหมดซัดเซพเนจรข้ามน้ำกลับไปอีกคนเพิ่งตกตึกตายไม่มีแม้งานศพคนหนึ่งและอีกหนึ่งไปสู่ความตายเหลือฉันหล่อเลี้ยงชีวิตท่ามกลางความดิ้นรน ฉันจะต่างกับเธออย่างไรหายใจแต่ไร้วิญญาณลิปสติคแท่งใหม่วาดริมฝีปากที่ไม่มีคำพูดฉันไม่รู้และไม่เข้าใจว่า …
พี่สาวในค่ายบอกหนูว่าเราเพียงเปลี่ยนสถานที่เล่านิทาน โดย อรพรรณ ชอบศิลป์รางวัลดอ ธาน ธาน ประเภทงานเขียนบุคคลทั่วไป ลำดับที่ 1 เงินรางวัล …
“เห้ย” “เห้ย มึงอะ !” “เห้ย มึงอะไอ้ต่างด้าว !!” เสียงตะโกนของชายแก่อ้วนท้วมดังเรียกใครบางคน ที่ถูกใช้สรรพนามแทนตัวว่าต่างด้าว “คะ …
เมื่อครั้งยังเล็กเราต่างมีความคิดฝันอย่างเด็ก ๆ หลายคนอยากเป็นครู เป็นหมอ แต่ผมกลับอยากเป็นทหารเพื่อแก้แค้นให้กับครอบครัวที่ถูกทหารพม่าข่มเหงรังแกจนต้องพลัดพรากจากกัน ผมคิดเสมอว่าเมื่อโตขึ้นผมจะฆ่าคนชาติเดียวกับเขา ทำร้ายญาติพี่น้องคนในครอบครัวของเขาเหมือนกับที่เขาเคยทำกับครอบครัวของผม ครั้งหนึ่งเมื่อผมอายุประมาณแปดขวบมีทหารพม่าเคลื่อนพลเข้ามาในหมู่บ้าน พ่อและพี่ชายคนโตของผมจำเป็นต้องหนีเอาตัวรอดจากการถูกเกณฑ์เป็นลูกหาบ ในบ้านจึงเหลือแต่แม่และพี่น้องที่ยังเล็ก …
เครื่องบินรบพม่าทิ้งระเบิดลงค่ายผู้พลัดถิ่นชาวกะเรนนี บนชายแดนกะเรนนีติดอำเภอเมือง แม่ฮ่องสอน เมื่อราวก่อนตีหนึ่งเมื่อคืนวันที่ 12 กรกฎาคม 2566 ระเบิด 5 ลูกลงที่หลายจุดในค่าย …
Read more เครื่องบินรบพม่าทิ้งระเบิดลงค่ายผู้พลัดถิ่นชาวกะเรนนี
ผู้ลี้ภัยกว่าห้าพันคน ในตำบลเสาหิน อำเภอแม่สะเรียง แม่ฮ่องสอน และผู้พลัดถิ่นในประเทศอีกจำนวนมหาศาลในตำบลมูเซและผาซอง ตอนใต้ของรัฐกะเรนนี เป็นผู้ลี้ภัย-ผู้พลัดถิ่นใหม่ ที่ไม่มีประสบการณ์การพลัดถิ่นฐานเหมือนกับชาวกะเหรี่ยง หรือชาวกะเรนนีในตอนเหนือ พื้นที่ตอนใต้เป็นเขตอิทธิพลของกองกำลัง …
คราวต่อไปจะเป็นใคร….. บทความเสียงชาวบ้าน โดย แอ้เกอะลื่อตอ เขียนไว้เมื่อปี 2554 ในค่ายผู้ลี้ภัย คำถามแรกที่เรามักจะถามกับเพื่อนผู้ลี้ภัยที่เพิ่งรู้จักกันคือ “คุณเข้ามาอยู่ในค่ายผู้ลี้ภัยแห่งนี้ด้วยเหตุผลอะไร” ครั้งหนึ่งศาสนาจารย์ที่ผมเพิ่งรู้จักได้ถามคำถามนี้กับผมเช่นกัน …
ผมได้เป็นคนพลัดถิ่นแล้วThis summer I am displacedDiary of the Wild Birds ห้าปีก่อน …
เราจะมีชีวิตรอด : การต่อต้านกับการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ในรัฐกะเรนนี “ดอเนียะกู่ ดอตาเมียะ ดอตะมะจี ไม่เหลือแล้ว” คือบทสนทนาของฉันกับหญิงสาวกะเรนนีสองคนในวันสงกรานต์ ชื่อทั้งสามนั้นคือชื่อของโรงเรียน IDP …
Read more เราจะมีชีวิตรอด : การต่อต้านกับการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ในรัฐกะเรนนี
เพื่อนบ้านของเราเป็นอาชญากร วันจันทร์ที่ 10 เมษายน กองทัพพม่าโจมตีทางอากาศที่เมืองฟาลาม รัฐฉื่น ทำให้มีพลเรือนรวมเด็กเสียชีวิตเป็นจำนวน 10 คน บาดเจ็บอีก …
กลับชั่วคราว เพราะสงครามไม่ใช่เรื่องชั่วคราว ผู้ลี้ภัยจากหลายชุมชนทะยอยข้ามแดนกลับรัฐกะเหรี่ยงตั้งแต่วานก่อน หลังจากที่กองกำลังผสมที่พยายามบุกโจมตีโครงการเมืองจีนฉ่วยก๊กโก่ถอนกำลังออก ล่าสุด ทางการคงเหลือพื้นที่พักพิงไว้เพียง 3 แห่ง จาก 11 …
รองเท้าที่หายไป วันนี้เป็นวันที่สามนับตั้งแต่มีการรบกันในฝั่งรัฐกะเหรี่ยงไม่ไกลจากบ้านผม เสียงปืนใหญ่ดังต่อเนื่องทุกนาที บางครั้งผมรู้สึกถึงแรงสั่นสะเทือนแม้ว่านั่งอยู่ในบ้าน โมและปาออกไปส่งสิ่งของด้วยกันตั้งแต่วันแรก ผมอยู่บ้านกับแมวหนึ่งตัว หมาสองตัว และพี่สาวที่เป็นญาติตลอดสองวัน ถึงผมจะไม่ได้ไปส่งของด้วย แต่จากการฟังโมกับปาคุยกัน …
เมื่อทหารมายิงกันที่หมู่บ้านของหนูบันทึกเด็กหญิงไทยพลัดถิ่น “ตอนปิดเทอมหนูได้ไปเที่ยวบ้านหนูที่พม่าที่มีชื่อว่าหมู่บ้านแม่แปบ ก่อนวันที่ทหารจะมายิงกันที่บ้านหนูนั้นเป็นวันที่หนูมีความสุขมาก หนูเล่นกับแมวที่บ้านน้อง มันชื่อว่าเก้อ เป็นแมวของอาหนู ก่อนเข้านอนวันนั้น หนูรู้สึกแปลก ๆ ก็เลยไปนอนกับพ่อแม่ …
เราได้เรียนรู้อะไรจากบทเรียนที่ผ่านมาบ้างไหม ? ขณะที่การรับผู้ลี้ภัยและการให้ความช่วยเหลือโดยตรงจากชุมชนคนท้องถิ่นกับภาคเอกชนกำลังเริ่มจะเข้าที่เข้าทาง สองวันหลังจากการเริ่มต้นอพยพครั้งใหญ่ ชุมชนชายแดนก็แจ้งมาว่าทางการประกาศคำสั่งใหม่ให้ผู้ที่ต้องการส่งมอบความช่วยเหลือทั้งหลาย ต้องไปลงทะเบียนที่อำเภอเพื่อเดินเรื่องขอใบอนุญาตก่อน คำสั่งที่ออกมาจัดระเบียบอาจเป็นทิศทางที่ดี หากมุ่งเน้นให้การเข้าส่งมอบความช่วยเหลือได้รับการยอมรับอย่างเป็นทางการ ไม่ซ้ำซ้อน และทั่วถึง …